การใช้ KPI เพื่อบริหารงานจัดซื้อเชิงกลยุทธ์ พิมพ์

การใช้ KPI เพื่อบริหารงานจัดซื้อเชิงกลยุทธ์

KPI for Strategic Purchasing

ความสำคัญ

         ขณะนี้ทุกบริษัทให้ความสำคัญกับงานจัดซื้อเป็นอย่างมาก กิจการจะมีสต็อกเพียงพอ

ที่จะบริการลูกค้าได้ และมีต้นทุนที่สามารถแข่งขันกับผู้อื่นได้นั้น ต้องอาศัยกลยุทธ์และระบบการจัดซื้อ

ที่ดีและ ถูกต้อง ประเด็นสำคัญอยู่ที่ว่าผู้บริหารจะรู้ได้อย่างไรว่าตอนนี้มีปัญหาอะไร หรือส่อเค้าว่า

กำลังจะเกิดปัญหาอะไร สาเหตุอยู่ตรงไหน

          หลักมีอยู่ว่า If you can't measure it, you can't manage it ถ้าท่านวัดไม่ได้ ท่านก็บริหาร

จัดการมันไม่ได้ การตั้ง KPI (Key Performance Indicator - ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ) จึงเป็นเสมือน

หน้าปัทม์ที่บอกให้ผู้บริหารทราบและติดตามสถานการณ์ของทุก ปัญหาได้ตลอดเวลา เพื่อสามารถ

ป้องกันแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกจุดและทันท่วงที

หัวข้อการสัมมนา

  1. การบริหารงานจัดซื้อเชิงกลยุทธ์คืออะไร

  2. การเลือกกลยุทธ์และการวางแผนกลยุทธ์จัดซื้อสำหรับองค์กร

  3. ปัจจัยสำคัญในการวางแผนกลยุทธ์

  4. วิวัฒนาการด้านการตลาดที่ควรรู้

  5. ความหมายของ CSF – Critical Success Factor หรือ KSF – Key Success Factor

     หรือปัจจัยสำคัญที่มีผลกระทบกับความสำเร็จขององค์กร

  6. การค้นหาและวิเคราะห์ CSF/KSF ขององค์กรเราเอง

  7. ความสำคัญของ Balanced Scorecard (BSC)

  8. การประเมินผลงานโดยใช้ KPI จาก Balanced Scorecard

  9. กำหนด Key Performance Indicator (KPI – ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ) ให้เหมาะสม

10. หลักในการออกแบบ KPI ประเภทต่าง ๆ

11. การเริ่มนำ KPI ออกมาใช้งาน

12. ความสำเร็จและล้มเหลวในการใช้ KPI

13. ตัวอย่าง KPI หลากหลายในวงการจัดซื้อ

วิทยากร

คุณกมลทิพย์ จันทรมัส B.A.(Econ.), X-MBA

  - ผู้มีประสบการณ์ในการบริหารงานจัดซื้อ   ของบริษัทชั้นนำนานาชาติกว่า 30 ปี

  - ผู้เชี่ยวชาญโครงการ Logistics Clinic   สภาอุสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  - ที่ปรึกษาเฉพาะทางและการเขียนแผนธุรกิจของสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED)

กำหนดการสัมมนา (เวลา 09.00-16.00 น.)

รุ่นที่ 58

วัน...

ณ โรงแรมจัสมิน ซิตี้ กรุงเทพฯ ถ.สุขุมวิท (BTS อโศก หรือ MRT สุขุมวิท)

อัตราค่าสัมมนา

 3,900 + VAT 273 =  4,173 - (หักภาษี ณ ที่จ่าย) 117 = ชำระสุทธิ 4,056 บาท

ยิ่งอบรมมาก ยิ่งเสียภาษีน้อย ค่าอบรมสามารถลงรายจ่ายได้เพิ่มขึ้นถึง 200%