การบริหารคลังสินค้าสมัยใหม่ พิมพ์

 

การบริหารคลังสินค้าสมัยใหม่

Modern Warehouse Management

 หลักการและเหตุผล

 

 

           การบริหารจัดการคลังสินค้าและกระจายสินค้า ถือเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญยิ่ง
  และเป็นเคล็ดลับสู่ความสำเร็จของทุกองค์กร 
ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องอย่างเป็นระบบ
 จะนำมาซึ่งประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างแท้จริง นับตั้งแต่ทำเลที่ตั้ง การออกแบบ
การจัดวางผัง
 การไหลของสินค้าอย่างเป็นระบบ การนำเครื่องทุ่นแรงมาใช้อย่างเหมาะสม ตลอดจนการ
 พัฒนาระบบไอที รวมถึงการ
กระจายสินค้าให้ลูกค้าทั้งนอกและในบริษัทให้พึงพอใจและวัดผลได้
ซึ่งทุกบริษัทต้องการเพิ่มบริการโดยลดต้นทุนในขณะเดียวกันให้ได้ เพื่อให้ได้เปรียบในเชิงแข่งขัน

หัวข้อสัมมนาหัวข้อสัมมนา

 

 


หัวข้อสัมมนา (พร้อมภาพและวีดีโอตัวอย่างจริงประกอบการบรรยายแบบเข้มข้นตลอดหลักสูตร)

1. Why have Warehouse?
        - ทำไมต้องมีคลังสินค้า
        - วัตถุประสงค์หลักของจัดการคลังสินค้า
        - การวัดผลงานในการจัดการคลังสินค้า
        - ความรับผิดชอบหลักในระดับปฏิบัติการ
        - ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า
2. How much Stock to Hold?
        - สิ่งสำคัญในการจัดการ Stock
        - ผลกระทบต่อองค์กรในการจัดการ Stock

        - Safety Stock v.s. Service Level 
        - ABC Analysis – Pareto’s 80/20 Rule
3. Warehouse Location
        - ปัจจัยภายในในการเลือกที่ตั้งคลังสินค้า
        - ปัจจัยภายนอกในการเลือกที่ตั้งคลังสินค้า
        - เทคนิคในการเลือกที่ตั้งคลังสินค้า
4. Warehouse Design
        - ปัจจัยที่ต้องคำนึงในการออกแบบคลังสินค้า
        - ข้อมูลพื้นฐานประกอบการออกแบบคลังสินค้า
        - หลักการ Use of Cube
        - การกำหนดความต้องการใช้พื้นที่อย่างมีประสิทธิผล
        - วิธีการคัดเลือกระบบจัดเก็บในคลังสินค้าอย่างถูกต้อง
5. Warehouse Layout and Flow
        - ปัจจัยที่ต้องคำนึงในการไหลของสินค้า
          (การรับ การจัดเก็บ การเลือกหยิบ การเติมเต็มสินค้า การจ่าย)
        - หลักการ Length of flow
        - หลักการในการกำหนดพื้นที่ของคลังสินค้า
        - หลักการ Live Storage Systems
        - เทคนิคการใช้พื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ/Very Narrow Aisle (VNA)
6. Materials Handling Solution
        - ปัจจัยที่ต้องคำนึงในการเลือกอุปกรณ์ทุ่นแรง (MHE)
        - ประเภทของอุปกรณ์ทุ่นแรง (MHE)
        - หลักการในการเลือก Folklift
         - การดูแลรักษาอุปกรณ์ทุ่นแรง (MHE)
7. Warehouse Operations
        - Warehousing Material Flow
        -
Warehousing Operations Flow
        - การรับของเข้าและการจ่ายของออก
        - State of the Art Design Work / Pick Director
8. The Development in WMS (Warehouse Management System)
        - WMS / IT Infrastructure
        - WMS / Real Time Radio Frequency / Barcode
        - กรณีศึกษาการใช้ WMS ในงานจริง
9. The Development in Other IT Systems
        - Electronic Point of Sale (EPOS)
        - Electronic Funds Transfer (EFT)
        - Radio Frequency Identification (RFID)
10. Logistics System Performance
        - Key Performance Indicators (KPIs) ที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการคลังสินค้า

 

 

 

 

วิทยากร
 คุณสมเกียรติ ลีรัตนขจร
- ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท รวมถาวรขนส่ง (2002) จำกัด
- ที่ปรึกษาสมาคมบริหารงานจัดซื้อและซัพพลายเชนแห่งประเทศไทย
- วิทยากรหลักสูตรบริหารงานจัดซื้อนานาชาติของอังกฤษ,
- ผู้เชี่ยวชาญการบริหารงานโลจิสติกส์ระดับแนวหน้าของประเทศไทย,
- ที่ปรึกษาธุรกิจบริหารงานโลจิกส์หลากหลายองค์กร
- อดีตผู้บริหารระดับสูงฝ่ายศูนย์กระจายสินค้าและโลจิสติกส์
   บจก. ดีทแฮล์ม (หน่วยธุรกิจอุปโภคบริโภค)

 

 

 

 

 

 

กำหนดการสัมมนา

รุ่นที่ 54

วันเสาร์ที่ 17 ธันวาคม 2565 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ (สุขุมวิท 20)

รุ่นที่ 55

วันพฤหัสบดีที่ 19 มกราคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม เซนต์เจมส์ (สุขุมวิท 26)

รุ่นที่ 56

วันเสาร์ที่ 28 มกราคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ (สุขุมวิท 20)

รุ่นที่ 57

วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม เซนต์เจมส์ (สุขุมวิท 26)

รุ่นที่ 58

วันเสาร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ (สุขุมวิท 20)

รุ่นที่ 59

วันพฤหัสบดีที่ 9 มีนาคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม เซนต์เจมส์ (สุขุมวิท 26)

รุ่นที่ 60

วันเสาร์ที่ 25 มีนาคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ (สุขุมวิท 20)

รุ่นที่ 61

วันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม เซนต์เจมส์ (สุขุมวิท 26)

รุ่นที่ 62

วันเสาร์ที่ 29 เมษายน 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ (สุขุมวิท 20)

รุ่นที่ 63

วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม เซนต์เจมส์ (สุขุมวิท 26)

รุ่นที่ 64

วันเสาร์ที่ 27 พฤษภาคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ (สุขุมวิท 20)

รุ่นที่ 65

วันพฤหัสบดีที่ 8 มิถุนายน 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม เซนต์เจมส์ (สุขุมวิท 26)

รุ่นที่ 66

วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ (สุขุมวิท 20)

รุ่นที่ 67

วันพฤหัสบดีที่ 6 กรกฎาคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม เซนต์เจมส์ (สุขุมวิท 26)

รุ่นที่ 68

วันเสาร์ที่ 22 กรกฎาคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ (สุขุมวิท 20)

รุ่นที่ 69

วันพฤหัสบดีที่ 10 สิงหาคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม เซนต์เจมส์ (สุขุมวิท 26)

รุ่นที่ 70

วันเสาร์ที่ 26 สิงหาคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ (สุขุมวิท 20)

รุ่นที่ 71

วันพฤหัสบดีที่ 7 กันยายน 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม เซนต์เจมส์ (สุขุมวิท 26)

รุ่นที่ 72

วันเสาร์ที่ 23 กันยายน 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ (สุขุมวิท 20)

รุ่นที่ 73

วันพฤหัสบดีที่ 12 ตุลาคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม เซนต์เจมส์ (สุขุมวิท 26)

รุ่นที่ 74

วันเสาร์ที่ 28 ตุลาคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ (สุขุมวิท 20)

รุ่นที่ 75

วันพฤหัสบดีที่ 9 พฤศจิกายน 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม เซนต์เจมส์ (สุขุมวิท 26)

รุ่นที่ 76

วันเสาร์ที่ 25 พฤศจิกายน 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ (สุขุมวิท 20)

รุ่นที่ 77

วันพฤหัสบดีที่ 7 ธันวาคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม เซนต์เจมส์ (สุขุมวิท 26)

รุ่นที่ 78

วันเสาร์ที่ 23 ธันวาคม 2566 / 09.00-16.00 น.

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ (สุขุมวิท 20)

 

 

 

อัตราค่าสัมมนา

4,300+VAT301 = 4,601 (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 129 บาท)
พิเศษ! เพียงสำรองก่อนวันสัมมนา 7 วัน

3,900+VAT273 = 4,173 (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 117 บาท)

รวมเอกสารประกอบการบรรยาย อาหารว่างและอาหารกลางวัน
(ราคานี้ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)

 

ยิ่งอบรมมาก ยิ่งเสียภาษีน้อย ค่าอบรมสามารถลงรายจ่ายได้เพิ่มขึ้นถึง 200%
ทุกหลักสูตรจะมอบประกาศนียบัตร Certificate of Attendance ให้กับผู้เข้าสัมมนา