การปรับปรุงและพัฒนาระบบงานการเงิน (CASHIER) ที่มีประสิทธิภาพ พิมพ์

                                                                              

การปรับปรุงและพัฒนาระบบงานการเงิน

(CASHIER) ที่ประสิทธิภาพ

 

ความสำคัญ

          เจ้าหน้าที่การเงิน (cashier) ต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับการเข้า-ออกเงินสดของทั้งองค์กร ไม่ว่าจะเป็น

การรับ-จ่าย การควบคุม-การเก็บรักษาเงินสด ติดต่อทำธุรกรรมทางการเงินกับธนาคาร การรับเช็คและสั่งจ่ายเช็ค

เงินสดย่อย รวมทั้งงานการเงินอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งเกี่ยวข้องกับเงินตลอดเวลา ทำให้โอกาสที่เกิด

ความผิดพลาดหรือเกิดข้อบกพร่องเป็นไปได้ทุกเวลาหากเจ้าหน้าที่ ไม่จัดระบบควบคุม ขาดประสบการณ์

ขาความรอบคอบและรัดกุม

           สถาบันจึงได้จัดสัมมนาขึ้นโดยมุ่งที่จะให้ฝ่ายการเงิน(Cashier) ได้รับความรู้ โดยได้รับการ

ถ่ายทอดประสบการณ์จากวิทยากรเพื่อเสริมจุดแข็งให้กับเจ้าหน้าที่การเงิน(Cahsier) เทคนิคการแก้ปัญหา

และข้อควรระวังต่างๆ เพื่อลดข้อผิดพลาดที่มักเกิดขึ้น ตลอดจนการจัดการด้านการเงินของแคชเชียร์ที่รัดกุม

ประสิทธิภาพ

หัวข้อสัมมนา

1. สิ่งที่นักการเงินต้องทราบและหน้าที่ความรับผิดชอบที่ต้องมี

2. ระบบภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับงานการเงินที่นักการเงิน (CASHIER) ต้องทราบและมีความแม่นยำ

3. การวางระบบเอกสารแบบฟอร์มต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานการเงิน

             - เอกสารแบบฟอร์มที่ต้องจัดทำ

             - เอกสารทางการเงินที่ต้องใช้ประกอบการบันทึกบัญชี

             - ระบบการจัดเก็บเอกสารและแนวปฏิบัติ กรณีเอกสารสูญหายหรือเสียหาย

4. การจัดระบบรับเงิน

             - ระบบรับชำระจากการขาย กรณี:-

             - นำเงินสดมาชำระเอง                       - ชำระผ่านธนาคาร

             - ชำระทางไปรษณีย์                          - ชำระด้วยเช็ค

             - ชำระบัตรเครดิต                              - มีเจ้าหน้าที่ไปเก็บเงิน

5. การจัดระบบการเบิกจ่ายเงินสดย่อยและเช็ค

              - การตั้งวงเงินสดย่อย                        - เงื่อนไขในการเบิกจ่าย

              - การจ่ายชำระหนี้ให้เจ้าหน้าที่            - ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงานต่างๆ

              - การวางระบบและข้อควรระวังในการรับ/จ่ายเช็ค

6. การจัดทำรายงานทางการเงินที่ดีและมีประสิทธิภาพประเภทต่างๆ

7. การวางระบบงานพร้อมระบบควบคุมภายใน เพื่อลดข้อผิดพลาดและป้องกันการทุจริต

              - นโยบายวิธีการปฏิบัติงานและมาตรฐานการปฏิบัติงานการเงิน

              - การจัดรูปแบบองค์กรภายในฝ่ายการเงิน

              - แนวปฏิบัติในการจดบันทึกและการจัดทำรายงานการเงิน

8. งานบริหารสำหรับฝ่ายการเงินที่มีประสิทธิภาพ

              - การบริหารเงินสดหมุนเวียน                - บริหารเงินสดรับ/จ่าย

              - บริหารวงเงินสดขั้นต่ำ                       - การเก็บรักษาเงินสดที่มีประสิทธิภาพ

              - จัดทำงบประมาณเงินสดและกระแสเงินสด

              - การบริหารเงินฝากธนาคาร

              - การจัดการบัญชีกระแสรายวันและออมทรัพย์และเงินเบิกเกินบัญชี

              - การจัดทำงบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร

วิทยากร

อาจารย์สมชาย วนารักษ์พิทักษ์ (TA)

 ผู้ตรวจสอบบัญชีภาษีอากร (TAX AUDITOR)

ประสบการณ์: รองผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี บริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน)

ที่ปรึกษาและวางระบบบัญชี ในการบริหารงานด้านบัญชีมากกว่า 25 ปี

กำหนดการสัมมนา

เวลา 09.00-16.00 น.

รุ่นที่ 85

วันพุธที่ 28 กุมภาพันธ์ 2567

โรงแรม แรมแบรนดท์ สุขุมวิท 18 / ZOOM

รุ่นที่ 86

วันพุธที่ 24 เมษายน 2567

โรงแรม แรมแบรนดท์ สุขุมวิท 18 / ZOOM

รุ่นที่ 87

วันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน 2567

โรงแรม แรมแบรนดท์ สุขุมวิท 18 / ZOOM

รุ่นที่ 88

วันอังคารที่ 27 สิงหาคม 2567

โรงแรม แรมแบรนดท์ สุขุมวิท 18 / ZOOM

รุ่นที่ 89

วันพุธที่ 16 ตุลาคม 2567

โรงแรม แรมแบรนดท์ สุขุมวิท 18 / ZOOM

รุ่นที่ 84

วันพฤหัสบดีที่ 14 ธันวาคม 2566

โรงแรม แรมแบรนดท์ สุขุมวิท 18 / ZOOM

อัตราค่าสัมมนา

3,400 + VAT 224 = 3,424 บาท (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 96 บาท)

อัตราค่าสัมมนาผ่าน ZOOM

2,400 + VAT 168 = 2,568 บาท (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 72 บาท)

หักภาษี ณ ที่จ่ายได้ 3% จากราคาก่อนภาษีมูลค่าเพิ่ม

ยิ่งอบรมมาก ยิ่งเสียภาษีน้อย ค่าอบรมสามารถลงรายจ่ายได้เพิ่มขึ้นถึง 200%