หัวข้อสัมมนา
ส่วนที่ 1 – ภาคเช้า ( 09.00 – 12.00 น.) วิทยากร: อ.มนตรี ยุวชาติ
* ความรู้ทางด้านการค้าระหว่างประเทศ (Import -Export Operations)
– ความหมายของการประกอบธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
– วิธีการชำระเงิน และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในการชำระเงินระหว่างประเทศ
* ข้อตกลงการส่งมอบสินค้าระหว่างประเทศ International Commercial Terms (Incoterms® 2020)
ตามเกณฑ์ของสภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce)
* ขั้นตอนในการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
– เอกสารทางการขนส่ง (Transport Document)
– เอกสารการประกันภัย (Insurance Document)
ส่วนที่ 2 – ภาคบ่าย (13.00 – 16.00 น.) อ.วิรัตน์ บาหยัน
* การเตรียมความพร้อมในการดำเนินธุรกิจส่งออกและนำเข้าในระบบโลจิสติกส์
ภายใต้พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2560
– หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการนำเข้าตาม พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2560
– ความรับผิดในการเสียค่าอากร การคำนวณค่าภาษีอากร
– อายุความในการประเมินอากรหลังการตรวจปล่อย (Post Clearance Audit)
* สินค้าที่มีมาตรการนำเข้าและส่งออกตามพระราชบัญญัติ ฯ พ.ศ.2558
* สินค้าต้องห้าม-ต้องกำกัด
* สินค้าที่ห้ามนำผ่านและผ่านได้
* สินค้าที่ต้องมีมาตรฐาน
* e-Import : การผ่านพิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการนำเข้า
* หลักเกณฑ์ด้านพิกัดอัตราศุลกากร (HS Code) พิกัดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน (AHTN)
* หลักเกณฑ์ด้านราคาศุลกากร Gatt Valuation ในการประเมินภาษีอากรในการนำเข้า
* หลักเกณฑ์การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีอากรว่าด้วยการเปิดเสรีทางการค้า
– การยกเว้นหรือลดอัตราอากรสำหรับเขตการค้าเสรี (FTA)
– การตรวจสอบสิทธิก่อนและหลังการนำสินค้าเข้า
– การรับรองแหล่งกำเนิดด้วยตนเอง (Self Certification)
* e-Export: พิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าส่งออก
* การยกเว้นอากรสำหรับของส่งออกแล้วจะนำกับเข้ามาในภายหลัง (สุทธินำกลับ)
* การขอคืนอากรสำหรับสินค้าที่นำเข้ามาแล้วส่งกลับออกไป (Re-Export)
* การคืนอากรสำหรับของที่นำเข้ามาผลิต ผสม ประกอบ บรรจุ หรือดำเนินการด้วยวิธีอื่นใด(มาตรา 29)
* การใช้สิทธิประโยชน์ของคลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse) เขตปลอดอากร (Free Zone)
เขตประกอบการเสรี (I-EAT Free Zone)
* การขอรับเงินชดเชยค่าภาษีอากรสำหรับสินค้าส่งออก (Tax Coupon)
* ปัญหา ข้อควรระวัง และแนวทางในการแก้ไขข้อผิดพลาดการนำเข้า-ส่งออก
* การรับรองป้องกันภัยจากการก่อการร้ายจากมาตรฐานเออีโอ (AEO) and (C-TPAT)
|