หัวข้อสัมมนา
1. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้าคืออะไร ใครเป็นผู้ได้ประโยชน์จากกฎนี้ ?
2. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้ามีกี่ประเภท
3. หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดคืออะไร
4. ประโยชน์ของหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดมีได้อย่างไร
5. ทำไมต้องเปิดเสรีทางการค้า
6. FTA คืออะไร และมีกี่ประเภท ?
7. FTA ช่วยผู้ประกอบธุรกิจส่งออกและนำเข้าอย่างไร
8. หลักเกณฑ์การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรภายใต้ FTA
9. FTA ที่มีผลบังคับกับประเทศไทย และที่อยู่ระหว่างเจรจากับประเทศไทย
10. วิธีการตรวจสอบสิทธิพิเศษภายใต้ FTA
- ทวิภาคี : JTEPA, TIFTA, TAFTA, TNZFTA, TPEFTA, TCHFTA, TPFTA, TTFTA, TSFTA, TEUFTA, T-EFTA
- พหุภาคี : * WTO, ATIGA* ACFTA* AKFTA* AJFTA* AIFTA* AANZFTA* AHFTA* BIMSTEC* TCFTA*
11. ยื่นคำขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าต้องทำอย่างไร
12. หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้ามีกี่แบบอะไรบ้าง และแต่ละแบบใช้กับข้อตกลงใด
13. ตัวอย่างการยื่นคำขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าในระบบ Electronic
14. ระยะเวลาการเก็บรักษาสำเนาเอกสารต่าง ๆ
15. หน่วยงานที่ให้บริการออกหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า
16. ใช้สิทธิลดหรือยกเว้นภาษีศุลกากรภายใต้ FTA ได้อย่างไร
17. เอกสารการรับรองถิ่นกำเนิดมีอะไรบ้าง
18. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (RULE OF ORIGIN)
- เกณฑ์สูงสุด WO,
- เกณฑ์นำเข้าวัตถุดิบมาผลิต RVC, CTC, SP
- เกณฑ์ร่วมกันผลิตในภาคีเดียวกัน
19. ระเบียบปฏิบัติในการนำเข้าของไทยภายใต้ FTA
20. การวางประกัน ด้วยเหตุแห่งความสงสัยว่าเอกสารจะผิดพลาด
21. หลักเกณฑ์เงื่อนไขพิธีการศุลกากรในการนำเข้า
22. สิทธิเกี่ยวกับการส่งมอบสินค้าแบบตรง (Direct Consignment & Transhipment)
23. การใช้สิทธิโดยการซื้อขายผ่านประเทศที่สาม (3rd Party Invoicing)
24. การออกแบบหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดแทนกัน ( Back to Back)
25. การออกหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดย้อนหลังทำอย่างไร
26. การตรวจสอบหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดในการใช้สิทธิพิเศษ
27. กรณีได้สิทธิโดยยกเว้นหนังสือรับรองแหล่งกำเนิด
|